วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557

บล็อกส่วนตัว นางสาว พิมพ์พิไล ประเสริฐศรี

ประวัติส่วนตัว นางสาว พิมพ์พิไล ประเสริฐศรี
     


ชื่อ นางสาว พิมพ์พิไล ประเสริฐศรี ชั้น ม.6/12 เลขที่ 15


ครูที่ปรึกษา 1. นางสาว อังคณา นวลพริ้ง

                    2. นาย นำเกียรติ ทรงวัฒนะสิน

เกิดวันที่  8 พฤษภาคม 2540

อาศัยอยู่ที่ 47/2 หมู่ 15 ต. สองชั้น อ. กระสัง จ. บุรีรัมย์ 31160

บิดา ชื่อ นาย วิวัฒ ประเสริฐศรี            อาชีพ เกษตรกรรม

มารดา ชื่อ นาง ศรีวรรณ ประเสริฐศรี อาชีพ เกษตรกรรม

สถาบันที่อยากเข้า

     มหาลัย บูรพา เพราะ สภาพแวดล้อมแถวนั้นมันเจริญ สามารถ หางานทำได้ด้วยเวลาเลิกเรียน อยากเข้าคณะ มนุษศาสตร์ เอก ภาษาจีน เพราะ อยากทำงานที่ใช้ภาษาในการสื่อสาร เช่น ล่าม นักแปล ไกด์ ตอนนี้ AEC กำลังจะเปิดเขาต้องการคนที่เก่งภาษามาทำงานกับเขา

อาชีพที่ใฝ่ฝัน  คือ  ล่าม ไกด์

วิชาที่ชอบ        ภาษาจีน และ ภาษาอังกฤษ

วิชาที่ไม่ชอบ    ทัศนศิลป์

สีที่ชอบ สีแดง  สีเขียวอ่อน

สถานที่ท่องเที่ยวที่อยากไป คือ Las Vegas

ประเทศที่อยากไป  ประเทศ อังกฤษ

เงินเดือนที่อยากได้ 30,000-50,000


ความฝันสูงสุด       อยากนั่งเครื่องบิน




แผนที่



  


แผนที่ 

























วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผักกาดหัว

                  การจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผักกาดหัว

                                         หัวไช้เท้าทอด


ส่วนประกอบ
1. หัวไช้เท้าขูดเป็นเส้นๆ   3  ถ้วย
2. ถั่วลิสงต้ม                     1  ถ้วย
3. แป้งข้าวเจ้า                  2  ถ้วย
4. แป้งสาลี                       2  ถ้วย
5. นำ้ปูนใส                      1/2 ถ้วย
6. เกลือ                            1  ช้อนชา
7. นำ้ตาลทราย                1  ช้อนโต๊ะ
8. นำ้มันพืช

ส่วนประกอบนำ้จิ้ม
1. นำ้จิ้มไก่สำเร็จรูป
2. ถั่งลิสงคั่ว
3. เกลือป่น
            
วิธีทำ

  
  1. นำแป้งข้าวเจ้า แป้งสาลี เกลือ และน้ำตาลทราย มาผสมเข้าด้วยกัน
  2. นำหัวไชเท้าและถั่วลิสงตัม ลงไปคลุกเคล้ากับแป้ง
  3. ตั้งน้ำมันพืชสำหรับทอดให้ร้อนจัด แล้วลดไฟเหลือไฟกลาง 
  4. ตักส่วนผสมที่คลุกแป้งแล้วลงไปทอด ทอดให่สุกเป็นสีเหลืองทั่วทั้งชิ้น
  5. ตักขึ้นวางบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ำมัน

วิธีการทำน้ำจิ้ม
 1. เอาถั่วลิสงคั่วมาปั่นหยาบๆ ไม่ต้องละเอียดมาก
 2. ผสมน้ำจิ้มไก่กับเกลือเล็กน้อย และถั่วลิสง
 3. คลุกเคล้าให้เข้ากัน ตักใส่ถ้วย เสิร์ฟพร้อมกับหัวไชเท้าทอด      

เคล็ดลับน่ารู้

ผิวพรรณสดใสขึ้นด้วยหัวไชเท้า
       หัวไชเท้ามีคุณค่าทางอาหารมากมาย เพราะในหัวไชเท้ามีทั้งวิตามินซี วิตามินเอ และแร่ธาตุอย่างแคลเซียม ฟอสฟอรัส และไนอาซิน ซึ่งเป็นแร่ธาตุสำคัญที่ร่างกายต้องการ 
ถึงแม้ว่าหัวไชเท้าดิบนั้นจะมีกลิ่นฉุน แต่ชาวญี่ปุ่นเชื่อว่ากลิ่นนี้จะช่วยกระตุ้นน้ำย่อยได้ ดังนั้นในอาหารญี่ปุ่นหลายชนิด จึงใส่หัวไชเท้าขูดฝอยลงในน้ำจิ้มซีอิ้ว หรือหั่นฝอยกินคู่กับปลาดิบเป็นผักเครื่องเคียง
นอกจากนั้นแล้ว หัวไชเท้าก็ยังช่วยล้างพิษ ล้างผนังกระเพาะอาหารและลำไส้ ช่วยละลายเสมหะ บำรุงไต ขับปัสสาวะ และละลายนิ่ว รวมทั้งเชื่อว่า หากกินเป็นประจำ จะทำให้ผิวพรรณสดใสขึ้นได้ด้วย
         
เอกสารอ้างอิง

http://th.openrice.com/th/recipe/detail.htm?recipeid=2873

http://www.foodtravel.tv/recfoodShow_Detail.aspx?viewId=1212

http://pantip.com/topic/30631249

http://edltv.vec.go.th/index.php?option=com_edl&task=course&view=lesson&lid=170&pid=169

http://www.pantown.com/market.php?id=8521&name=market7&area=1&topic=49&action=view





















วันเสาร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ต้นชาฮกเกี้ยน



       ต้นชาฮกเกี้ยน


ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์

ชื่อวิทยาศาสตร์          Carmonretusa(Vahl) Masam.
ชื่อวงศ์                        Boraginceae
ชื่อสามัญ                     -
ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ         ชาดัดใบมัน ข่อยจีน       ชาญวน
ถิ่นกำเนิด                    มีถิ่นดั้งเดิมอยู่ในประเทศจีนและ                                               แอฟริกาเหนือ
การกระจายพันธุ์ :      ในประเทศไทย ในประเทศอื่น ๆ
นิเวศวิทยา
เวลาออกดอก              หมุนเวียนตลอดปี  เต็มที่                                      เดือนสิงหาคม-ตุลาคม
เวลาติดผล                  สิงหาคม-ตุลาคม
การขยายพันธุ์            โดยการเพาะเมล็ด และการ                                    ปักชำกิ่ง
การใช้ประโยชน์         สรรพคุณทางยา  ราก  บำรุงสตรีหลังคลอด แก้น้ำเหลืองเสีย  ถอนพิษ
                                   ใบ  ใช้ขับเหงื่อ    แก้ท้อง                                      เสีย  แก้ไอ   และบำรุงธาตุ
                                  งานด้านภมิทัศน์ ปลูกเป็น                                                                                แปลงทำเป็นแนวรั้ว  ตัดแต่งทำเป็นไม้ดัดบอนไซ        
ประวัติพันธุ์ไม้          ในประเทศไทย เริ่มมีการปลูกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายแต่ไม่แพร่หลายนัก
ลักษณะวิสัย :            ไม้พุ่ม                   
เรือนยอด  ทรงพุ่ม  :  รูปร่มความสูง   1   .  ความกว้างทรงพุ่ม  1   .
ถิ่นอาศัย    :               พืชบก
ชนิดของลำต้น   :      ลำต้นเหนือดิน  ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้น   :          สีน้ำตาล    ลักษณะ    ขรุขระ
ยาง  :                         ไม่มี
ชนิดของใบ  :   ใบประกอบแบบขนนก                                         ขนนกปลายคี่ สีเขียว
                        ขนาดแผ่นใบกว้าง     0.5-2                                   ซม.ยาว1-4 ซม.เป็นใบเดี่ยวติด                             สลับ
                                  

การเรียงตัวของใบบนกิ่ง  :     สสับ
รูปร่างแผ่นใบ :                     รูปไข่กลับ
ปลายใบ  :                             ตัด
โคนใบ :                    รูปลิ่ม
ขอบใบ  :                   เรียบ
ชนิดของดอก :          ดอกช่อ ช่อกระจุก
ตำแหน่งที่ออกดอก   :   ซอกใบ
กลีบเลี้ยง  :                แยกจากกัน    มีจำนวน    5    กลีบ    สี  ขาว
กลีบดอก  :                แยกจากกัน   มีจำนวน    5    กลีบ    สี  ขาว   รูปกากบาท
กลิ่น  :                       ไม่มี
ชนิดของผล :            ผลเดี่ยว ผลมีเนื้อถึงหลายเมล็ด
สีของผล     :             ผลอ่อนสี  :  ส้มแดง             รูปร่างผล  :   กลม
เมล็ด  :                      จำนวนเมล็ด    4:1              รูปร่างเมล็ด       :   กลม


วิธีการดูแลรักษา



1. บริเวณที่ปลูกหากเป็นที่แจ้งโดนแสงทั้งวันดีกว่าในร่ม

2. หน้าแล้งควรรดนำเทุกวันอย่างน้อย 1 ครั้ง เช้า 8-9 โมง หรือ บ่าย 4-5 โมง (หรือหากเห็นดินแห้งเร็วก็รดนำ้วันละ 2 ครั้ง ทั้งเช้าและบ่่ายเลย

3. หน้าฝนควรรดนำ้เฉพาะเมื่อเห็นดินแห้งแต่ควรดูแลไม่ให้นำเขัง

4. หลีกเลี่ยงการรดนำ้เช้ามืด

5. ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์อื่นๆ เช่นปุ๋ยหมัก
บริเวณข้างแถวที่ปลูกทั้งสองข้าง พร้อมพรวนดินหลังใส่ปุ๋ย 2 เดือนครั้ง ประมาณ 2 กิโลกรัมต่อระยะ 1 เมตร แล้วตามด้วยการรดนำ้

6. วิธีตัดแต่งใช้กรรไกรตัดหญ้า

เอกสารอ้างอิง

http://www.kaweeclub.com/b113/()-ehretiaceae/

http://agkc.lib.ku.ac.th/plantwebsite/webpage/Shrubs/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%AE%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%99.html

http://www.shc.ac.th/learning/botanical-garden/71.htm

http://www.oknation.net/blog/gangster-1/2010/07/13/entry-1

http://www.nanagarden.com/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%AE%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%99%5E1-11.html